NIA หนุนงบต่อยอด “สตาร์ทอัพ” นวัตกรรม
NIA ปรับโฉม ส่งเสริม สตาร์ทอัพไทย ผ่านแพคเกจใหม่ “Groom Grant Growth” พร้อมสนับสนุนเงินทุน สร้างโอกาส ต่อยอดทางธุรกิจนวัตกรรม
นายพันธุ์อาจ ชัยรัตน์ ผู้อำนวยการสำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องค์การมหาชน) เปิดเผยว่า NIA ตระหนักดีว่าการกลุ่มผู้ประกอบการเอสเอ็มอีและสตาร์ทอัพเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญต่อการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งช่วยสร้างและพัฒนารูปแบบบริการและผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่ศักยภาพทางการแข่งขันที่ยั่งยืนในอนาคต ในปีนี้ NIA จึงได้เร่งปรับแผนงานและแนวทางสนับสนุนให้สอดคล้องกับความต้องการในปัจจุบัน และเป็นการเพิ่มโอกาสการเข้าถึงการสนับสนุนในกลุ่มผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพ โดยขณะนี้ถือว่ามีความพร้อมทั้งในด้านบุคลากร โครงการ และปัจจัยที่จำเป็นสำหรับการสนับสนุนครบทุกมิติ ถือเป็นอีกหนึ่งโอกาสสำคัญที่จะช่วยให้ความสามารถทางนวัตกรรมของผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพไปถึงเป้าหมายได้รวดเร็วขึ้น
ทั้งนี้การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมด้านเศรษฐกิจ ผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพที่จะเข้ามาขอรับการสนับสนุนจะต้องผ่านการอบรมบ่มเพาะ (Groom) ในโปรแกรมนวัตกรรมสำหรับผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพ เพื่อติวเข้มเรียนรู้และเข้าใจมุมมองด้านนวัตกรรมพร้อมเทคนิคแนวทางการเขียนข้อเสนอโครงการนวัตกรรมเพื่อขอรับการสนับสนุนด้านเงินทุน (Grant) ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่
1. ธุรกิจนวัตกรรมมุ่งเป้าในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 5 ล้านบาท ผ่าน 6 สาขา ได้แก่ ธุรกิจนวัตกรรมการดูแลสุขภาพ ธุรกิจนวัตกรรมอาหารออกแบบสำหรับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ธุรกิจนวัตกรรมสมุนไพรเพื่อกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ธุรกิจนวัตกรรมอุตสาหกรรมป้องกันประเทศเพื่อความมั่นคงและกิจการพลเรือน ธุรกิจนวัตกรรมท่องเที่ยว และธุรกิจนวัตกรรม Smart Logistic/อุตสาหกรรมการผลิตที่ใช้เทคโนโลยี IoT ซึ่งกำลังเปิดรับข้อเสนอโครงการตั้งแต่วันนี้จนถึง 31 มีนาคม 2562
2. ธุรกิจนวัตกรรมแบบเปิด ในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 1.5 ล้านบาท ผ่าน 3 สาขา ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจการผลิตและการหมุนเวียน และเศรษฐกิจบริการและแบ่งปัน โดยมุ่งพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมในพื้นที่ส่วนกลางและระดับภูมิภาค ตั้งแต่พื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และภาคใต้ชายแดน ทั้งผู้ประกอบการกลุ่มธุรกิจนวัตกรรม และสตาร์ทอัพ เน้นการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมที่สอดรับกับไลฟ์สไตล์ใหม่ๆ ผ่านการเชื่อมโยงเครือข่ายในด้านเทคโนโลยีและการเงิน
สำหรับผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพที่มีศักยภาพในการขยายผลจะส่งต่อผ่านการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมผ่านเครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ (Growth) เช่น โครงการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจเริ่มต้นสู่การลงทุน การพัฒนาความร่วมมือด้านนวัตกรรมกับหน่วยงานต่างประเทศ โครงการพัฒนาการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐสำหรับวิสาหกิจ (GPT) และกลไกการสนับสนุนด้านการเสริมสร้างศักยภาพด้านนวัตกรรม (Mind Credit)
สำหรับการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคม จะมีการดำเนินการสนับสนุนในลักษณะเดียวกับการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมด้านเศรษฐกิจ แต่จะมีการอบรมบ่มเพาะผู้ประกอบการผ่านเครือข่ายที่เรียกว่า “หน่วยขับเคลื่อนนวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation Driving Unit)” ที่กระจายอยู่ใน 5 ภูมิภาค ทั้งภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ กลาง ตะวันออก และใต้ เพื่อส่งต่อมายังส่วนการสนับสนุนด้านเงินทุน โดยแบ่งเป็น
1.ธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคมแบบมุ่งเป้าในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 1.5 ล้านบาท จะเน้นการแก้ปัญหาด้านสังคมปัญหาใดปัญหาหนึ่ง โดยนำนวัตกรรมรูปแบบต่างๆ ที่มีการพัฒนาต้นแบบหรือโมเดลที่สำเร็จแล้วให้สามารถกระจายสู่ชุมชน หรือองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น มุ่งเน้นให้เกิดการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำในจังหวัดยากจนของประเทศ หรือพื้นที่เป้าหมายนำร่อง ซึ่งองค์กรที่ได้รับคัดเลือกจะได้รับเงินสนับสนุนเพื่อนำไปดำเนินการจริงในพื้นที่ โดยมีโจทย์ที่สำคัญ ได้แก่
โครงการหมู่บ้านนวัตกรรมเพื่อสังคม หรือ Social InnovationVillage ที่มุ่งแก้ไขปัญหา 3 พื้นที่เป้าหมาย ได้แก่ ชุมชนเมืองจัง อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน ชุมชนอุ้มผาง อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก และชุมชนหนองมะโมง อำเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท นอกจากนี้ ยังมีการเปิดรับข้อเสนอโครงการนวัตกรรมสำหรับเมืองและชุมชนตั้งแต่วันนี้ถึง 30 เมษายน 2562 ในหัวข้อนวัตกรรมการจัดการความเสี่ยงภัยพิบัติ นวัตกรรมบริการสาธารณะ และการยกระดับคุณภาพชีวิตของกลุ่มเปราะบาง ซึ่งนับว่าเป็นการพัฒนาโครงการนวัตกรรมเพื่อสังคมแบบมุ่งเป้าอีกรูปแบบหนึ่งที่เน้นแก้ปัญหาสังคมเมืองและชุมชนในหัวข้อที่เป็นประเด็นสำคัญในแต่ละปี
2. ธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคมแบบเปิด ในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 1.5 ล้านบาท ผ่าน 9 ด้าน ได้แก่ ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ด้านความเชื่อมโยงระหว่าง อาหาร น้ำ และพลังงาน ด้านภาครัฐและการศึกษา ด้านการเงิน การจ้างงาน และสวัสดิการสังคม ด้านเกษตรกรรมยั่งยืน ด้านความเป็นเมือง ด้านสุขภาพ ด้านการท่องเที่ยวและวัฒนธรรม และ ด้านการจัดการภัยพิบัติ ส่วนธุรกิจ
NIA ปรับโฉม ส่งเสริม สตาร์ทอัพไทย ผ่านแพคเกจใหม่ “Groom Grant Growth” พร้อมสนับสนุนเงินทุน สร้างโอกาส ต่อยอดทางธุรกิจนวัตกรรม
นายพันธุ์อาจ ชัยรัตน์ ผู้อำนวยการสำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องค์การมหาชน) เปิดเผยว่า NIA ตระหนักดีว่าการกลุ่มผู้ประกอบการเอสเอ็มอีและสตาร์ทอัพเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญต่อการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งช่วยสร้างและพัฒนารูปแบบบริการและผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่ศักยภาพทางการแข่งขันที่ยั่งยืนในอนาคต ในปีนี้ NIA จึงได้เร่งปรับแผนงานและแนวทางสนับสนุนให้สอดคล้องกับความต้องการในปัจจุบัน และเป็นการเพิ่มโอกาสการเข้าถึงการสนับสนุนในกลุ่มผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพ โดยขณะนี้ถือว่ามีความพร้อมทั้งในด้านบุคลากร โครงการ และปัจจัยที่จำเป็นสำหรับการสนับสนุนครบทุกมิติ ถือเป็นอีกหนึ่งโอกาสสำคัญที่จะช่วยให้ความสามารถทางนวัตกรรมของผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพไปถึงเป้าหมายได้รวดเร็วขึ้น
ทั้งนี้การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมด้านเศรษฐกิจ ผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพที่จะเข้ามาขอรับการสนับสนุนจะต้องผ่านการอบรมบ่มเพาะ (Groom) ในโปรแกรมนวัตกรรมสำหรับผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพ เพื่อติวเข้มเรียนรู้และเข้าใจมุมมองด้านนวัตกรรมพร้อมเทคนิคแนวทางการเขียนข้อเสนอโครงการนวัตกรรมเพื่อขอรับการสนับสนุนด้านเงินทุน (Grant) ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่
1. ธุรกิจนวัตกรรมมุ่งเป้าในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 5 ล้านบาท ผ่าน 6 สาขา ได้แก่ ธุรกิจนวัตกรรมการดูแลสุขภาพ ธุรกิจนวัตกรรมอาหารออกแบบสำหรับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ธุรกิจนวัตกรรมสมุนไพรเพื่อกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ธุรกิจนวัตกรรมอุตสาหกรรมป้องกันประเทศเพื่อความมั่นคงและกิจการพลเรือน ธุรกิจนวัตกรรมท่องเที่ยว และธุรกิจนวัตกรรม Smart Logistic/อุตสาหกรรมการผลิตที่ใช้เทคโนโลยี IoT ซึ่งกำลังเปิดรับข้อเสนอโครงการตั้งแต่วันนี้จนถึง 31 มีนาคม 2562
2. ธุรกิจนวัตกรรมแบบเปิด ในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 1.5 ล้านบาท ผ่าน 3 สาขา ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจการผลิตและการหมุนเวียน และเศรษฐกิจบริการและแบ่งปัน โดยมุ่งพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมในพื้นที่ส่วนกลางและระดับภูมิภาค ตั้งแต่พื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และภาคใต้ชายแดน ทั้งผู้ประกอบการกลุ่มธุรกิจนวัตกรรม และสตาร์ทอัพ เน้นการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมที่สอดรับกับไลฟ์สไตล์ใหม่ๆ ผ่านการเชื่อมโยงเครือข่ายในด้านเทคโนโลยีและการเงิน
สำหรับผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพที่มีศักยภาพในการขยายผลจะส่งต่อผ่านการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมผ่านเครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ (Growth) เช่น โครงการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจเริ่มต้นสู่การลงทุน การพัฒนาความร่วมมือด้านนวัตกรรมกับหน่วยงานต่างประเทศ โครงการพัฒนาการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐสำหรับวิสาหกิจ (GPT) และกลไกการสนับสนุนด้านการเสริมสร้างศักยภาพด้านนวัตกรรม (Mind Credit)
สำหรับการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคม จะมีการดำเนินการสนับสนุนในลักษณะเดียวกับการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมด้านเศรษฐกิจ แต่จะมีการอบรมบ่มเพาะผู้ประกอบการผ่านเครือข่ายที่เรียกว่า “หน่วยขับเคลื่อนนวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation Driving Unit)” ที่กระจายอยู่ใน 5 ภูมิภาค ทั้งภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ กลาง ตะวันออก และใต้ เพื่อส่งต่อมายังส่วนการสนับสนุนด้านเงินทุน โดยแบ่งเป็น
1.ธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคมแบบมุ่งเป้าในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 1.5 ล้านบาท จะเน้นการแก้ปัญหาด้านสังคมปัญหาใดปัญหาหนึ่ง โดยนำนวัตกรรมรูปแบบต่างๆ ที่มีการพัฒนาต้นแบบหรือโมเดลที่สำเร็จแล้วให้สามารถกระจายสู่ชุมชน หรือองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น มุ่งเน้นให้เกิดการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำในจังหวัดยากจนของประเทศ หรือพื้นที่เป้าหมายนำร่อง ซึ่งองค์กรที่ได้รับคัดเลือกจะได้รับเงินสนับสนุนเพื่อนำไปดำเนินการจริงในพื้นที่ โดยมีโจทย์ที่สำคัญ ได้แก่
โครงการหมู่บ้านนวัตกรรมเพื่อสังคม หรือ Social InnovationVillage ที่มุ่งแก้ไขปัญหา 3 พื้นที่เป้าหมาย ได้แก่ ชุมชนเมืองจัง อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน ชุมชนอุ้มผาง อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก และชุมชนหนองมะโมง อำเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท นอกจากนี้ ยังมีการเปิดรับข้อเสนอโครงการนวัตกรรมสำหรับเมืองและชุมชนตั้งแต่วันนี้ถึง 30 เมษายน 2562 ในหัวข้อนวัตกรรมการจัดการความเสี่ยงภัยพิบัติ นวัตกรรมบริการสาธารณะ และการยกระดับคุณภาพชีวิตของกลุ่มเปราะบาง ซึ่งนับว่าเป็นการพัฒนาโครงการนวัตกรรมเพื่อสังคมแบบมุ่งเป้าอีกรูปแบบหนึ่งที่เน้นแก้ปัญหาสังคมเมืองและชุมชนในหัวข้อที่เป็นประเด็นสำคัญในแต่ละปี
2. ธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคมแบบเปิด ในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 1.5 ล้านบาท ผ่าน 9 ด้าน ได้แก่ ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ด้านความเชื่อมโยงระหว่าง อาหาร น้ำ และพลังงาน ด้านภาครัฐและการศึกษา ด้านการเงิน การจ้างงาน และสวัสดิการสังคม ด้านเกษตรกรรมยั่งยืน ด้านความเป็นเมือง ด้านสุขภาพ ด้านการท่องเที่ยวและวัฒนธรรม และ ด้านการจัดการภัยพิบัติ ส่วนธุรกิจ
NIA ปรับโฉม ส่งเสริม สตาร์ทอัพไทย ผ่านแพคเกจใหม่ “Groom Grant Growth” พร้อมสนับสนุนเงินทุน สร้างโอกาส ต่อยอดทางธุรกิจนวัตกรรม
นายพันธุ์อาจ ชัยรัตน์ ผู้อำนวยการสำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องค์การมหาชน) เปิดเผยว่า NIA ตระหนักดีว่าการกลุ่มผู้ประกอบการเอสเอ็มอีและสตาร์ทอัพเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญต่อการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งช่วยสร้างและพัฒนารูปแบบบริการและผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่ศักยภาพทางการแข่งขันที่ยั่งยืนในอนาคต ในปีนี้ NIA จึงได้เร่งปรับแผนงานและแนวทางสนับสนุนให้สอดคล้องกับความต้องการในปัจจุบัน และเป็นการเพิ่มโอกาสการเข้าถึงการสนับสนุนในกลุ่มผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพ โดยขณะนี้ถือว่ามีความพร้อมทั้งในด้านบุคลากร โครงการ และปัจจัยที่จำเป็นสำหรับการสนับสนุนครบทุกมิติ ถือเป็นอีกหนึ่งโอกาสสำคัญที่จะช่วยให้ความสามารถทางนวัตกรรมของผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพไปถึงเป้าหมายได้รวดเร็วขึ้น
ทั้งนี้การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมด้านเศรษฐกิจ ผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพที่จะเข้ามาขอรับการสนับสนุนจะต้องผ่านการอบรมบ่มเพาะ (Groom) ในโปรแกรมนวัตกรรมสำหรับผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพ เพื่อติวเข้มเรียนรู้และเข้าใจมุมมองด้านนวัตกรรมพร้อมเทคนิคแนวทางการเขียนข้อเสนอโครงการนวัตกรรมเพื่อขอรับการสนับสนุนด้านเงินทุน (Grant) ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่
1. ธุรกิจนวัตกรรมมุ่งเป้าในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 5 ล้านบาท ผ่าน 6 สาขา ได้แก่ ธุรกิจนวัตกรรมการดูแลสุขภาพ ธุรกิจนวัตกรรมอาหารออกแบบสำหรับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ธุรกิจนวัตกรรมสมุนไพรเพื่อกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ธุรกิจนวัตกรรมอุตสาหกรรมป้องกันประเทศเพื่อความมั่นคงและกิจการพลเรือน ธุรกิจนวัตกรรมท่องเที่ยว และธุรกิจนวัตกรรม Smart Logistic/อุตสาหกรรมการผลิตที่ใช้เทคโนโลยี IoT ซึ่งกำลังเปิดรับข้อเสนอโครงการตั้งแต่วันนี้จนถึง 31 มีนาคม 2562
2. ธุรกิจนวัตกรรมแบบเปิด ในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 1.5 ล้านบาท ผ่าน 3 สาขา ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจการผลิตและการหมุนเวียน และเศรษฐกิจบริการและแบ่งปัน โดยมุ่งพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมในพื้นที่ส่วนกลางและระดับภูมิภาค ตั้งแต่พื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และภาคใต้ชายแดน ทั้งผู้ประกอบการกลุ่มธุรกิจนวัตกรรม และสตาร์ทอัพ เน้นการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมที่สอดรับกับไลฟ์สไตล์ใหม่ๆ ผ่านการเชื่อมโยงเครือข่ายในด้านเทคโนโลยีและการเงิน
สำหรับผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพที่มีศักยภาพในการขยายผลจะส่งต่อผ่านการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมผ่านเครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ (Growth) เช่น โครงการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจเริ่มต้นสู่การลงทุน การพัฒนาความร่วมมือด้านนวัตกรรมกับหน่วยงานต่างประเทศ โครงการพัฒนาการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐสำหรับวิสาหกิจ (GPT) และกลไกการสนับสนุนด้านการเสริมสร้างศักยภาพด้านนวัตกรรม (Mind Credit)
สำหรับการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคม จะมีการดำเนินการสนับสนุนในลักษณะเดียวกับการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมด้านเศรษฐกิจ แต่จะมีการอบรมบ่มเพาะผู้ประกอบการผ่านเครือข่ายที่เรียกว่า “หน่วยขับเคลื่อนนวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation Driving Unit)” ที่กระจายอยู่ใน 5 ภูมิภาค ทั้งภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ กลาง ตะวันออก และใต้ เพื่อส่งต่อมายังส่วนการสนับสนุนด้านเงินทุน โดยแบ่งเป็น
1.ธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคมแบบมุ่งเป้าในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 1.5 ล้านบาท จะเน้นการแก้ปัญหาด้านสังคมปัญหาใดปัญหาหนึ่ง โดยนำนวัตกรรมรูปแบบต่างๆ ที่มีการพัฒนาต้นแบบหรือโมเดลที่สำเร็จแล้วให้สามารถกระจายสู่ชุมชน หรือองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น มุ่งเน้นให้เกิดการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำในจังหวัดยากจนของประเทศ หรือพื้นที่เป้าหมายนำร่อง ซึ่งองค์กรที่ได้รับคัดเลือกจะได้รับเงินสนับสนุนเพื่อนำไปดำเนินการจริงในพื้นที่ โดยมีโจทย์ที่สำคัญ ได้แก่
โครงการหมู่บ้านนวัตกรรมเพื่อสังคม หรือ Social InnovationVillage ที่มุ่งแก้ไขปัญหา 3 พื้นที่เป้าหมาย ได้แก่ ชุมชนเมืองจัง อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน ชุมชนอุ้มผาง อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก และชุมชนหนองมะโมง อำเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท นอกจากนี้ ยังมีการเปิดรับข้อเสนอโครงการนวัตกรรมสำหรับเมืองและชุมชนตั้งแต่วันนี้ถึง 30 เมษายน 2562 ในหัวข้อนวัตกรรมการจัดการความเสี่ยงภัยพิบัติ นวัตกรรมบริการสาธารณะ และการยกระดับคุณภาพชีวิตของกลุ่มเปราะบาง ซึ่งนับว่าเป็นการพัฒนาโครงการนวัตกรรมเพื่อสังคมแบบมุ่งเป้าอีกรูปแบบหนึ่งที่เน้นแก้ปัญหาสังคมเมืองและชุมชนในหัวข้อที่เป็นประเด็นสำคัญในแต่ละปี
2. ธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคมแบบเปิด ในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 1.5 ล้านบาท ผ่าน 9 ด้าน ได้แก่ ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ด้านความเชื่อมโยงระหว่าง อาหาร น้ำ และพลังงาน ด้านภาครัฐและการศึกษา ด้านการเงิน การจ้างงาน และสวัสดิการสังคม ด้านเกษตรกรรมยั่งยืน ด้านความเป็นเมือง ด้านสุขภาพ ด้านการท่องเที่ยวและวัฒนธรรม และ ด้านการจัดการภัยพิบัติ ส่วนธุรกิจ
NIA ปรับโฉม ส่งเสริม สตาร์ทอัพไทย ผ่านแพคเกจใหม่ “Groom Grant Growth” พร้อมสนับสนุนเงินทุน สร้างโอกาส ต่อยอดทางธุรกิจนวัตกรรม
นายพันธุ์อาจ ชัยรัตน์ ผู้อำนวยการสำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องค์การมหาชน) เปิดเผยว่า NIA ตระหนักดีว่าการกลุ่มผู้ประกอบการเอสเอ็มอีและสตาร์ทอัพเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญต่อการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งช่วยสร้างและพัฒนารูปแบบบริการและผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่ศักยภาพทางการแข่งขันที่ยั่งยืนในอนาคต ในปีนี้ NIA จึงได้เร่งปรับแผนงานและแนวทางสนับสนุนให้สอดคล้องกับความต้องการในปัจจุบัน และเป็นการเพิ่มโอกาสการเข้าถึงการสนับสนุนในกลุ่มผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพ โดยขณะนี้ถือว่ามีความพร้อมทั้งในด้านบุคลากร โครงการ และปัจจัยที่จำเป็นสำหรับการสนับสนุนครบทุกมิติ ถือเป็นอีกหนึ่งโอกาสสำคัญที่จะช่วยให้ความสามารถทางนวัตกรรมของผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพไปถึงเป้าหมายได้รวดเร็วขึ้น
ทั้งนี้การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมด้านเศรษฐกิจ ผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพที่จะเข้ามาขอรับการสนับสนุนจะต้องผ่านการอบรมบ่มเพาะ (Groom) ในโปรแกรมนวัตกรรมสำหรับผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพ เพื่อติวเข้มเรียนรู้และเข้าใจมุมมองด้านนวัตกรรมพร้อมเทคนิคแนวทางการเขียนข้อเสนอโครงการนวัตกรรมเพื่อขอรับการสนับสนุนด้านเงินทุน (Grant) ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่
1. ธุรกิจนวัตกรรมมุ่งเป้าในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 5 ล้านบาท ผ่าน 6 สาขา ได้แก่ ธุรกิจนวัตกรรมการดูแลสุขภาพ ธุรกิจนวัตกรรมอาหารออกแบบสำหรับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ธุรกิจนวัตกรรมสมุนไพรเพื่อกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ธุรกิจนวัตกรรมอุตสาหกรรมป้องกันประเทศเพื่อความมั่นคงและกิจการพลเรือน ธุรกิจนวัตกรรมท่องเที่ยว และธุรกิจนวัตกรรม Smart Logistic/อุตสาหกรรมการผลิตที่ใช้เทคโนโลยี IoT ซึ่งกำลังเปิดรับข้อเสนอโครงการตั้งแต่วันนี้จนถึง 31 มีนาคม 2562
2. ธุรกิจนวัตกรรมแบบเปิด ในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 1.5 ล้านบาท ผ่าน 3 สาขา ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจการผลิตและการหมุนเวียน และเศรษฐกิจบริการและแบ่งปัน โดยมุ่งพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมในพื้นที่ส่วนกลางและระดับภูมิภาค ตั้งแต่พื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และภาคใต้ชายแดน ทั้งผู้ประกอบการกลุ่มธุรกิจนวัตกรรม และสตาร์ทอัพ เน้นการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมที่สอดรับกับไลฟ์สไตล์ใหม่ๆ ผ่านการเชื่อมโยงเครือข่ายในด้านเทคโนโลยีและการเงิน
สำหรับผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพที่มีศักยภาพในการขยายผลจะส่งต่อผ่านการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมผ่านเครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ (Growth) เช่น โครงการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจเริ่มต้นสู่การลงทุน การพัฒนาความร่วมมือด้านนวัตกรรมกับหน่วยงานต่างประเทศ โครงการพัฒนาการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐสำหรับวิสาหกิจ (GPT) และกลไกการสนับสนุนด้านการเสริมสร้างศักยภาพด้านนวัตกรรม (Mind Credit)
สำหรับการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคม จะมีการดำเนินการสนับสนุนในลักษณะเดียวกับการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมด้านเศรษฐกิจ แต่จะมีการอบรมบ่มเพาะผู้ประกอบการผ่านเครือข่ายที่เรียกว่า “หน่วยขับเคลื่อนนวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation Driving Unit)” ที่กระจายอยู่ใน 5 ภูมิภาค ทั้งภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ กลาง ตะวันออก และใต้ เพื่อส่งต่อมายังส่วนการสนับสนุนด้านเงินทุน โดยแบ่งเป็น
1.ธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคมแบบมุ่งเป้าในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 1.5 ล้านบาท จะเน้นการแก้ปัญหาด้านสังคมปัญหาใดปัญหาหนึ่ง โดยนำนวัตกรรมรูปแบบต่างๆ ที่มีการพัฒนาต้นแบบหรือโมเดลที่สำเร็จแล้วให้สามารถกระจายสู่ชุมชน หรือองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น มุ่งเน้นให้เกิดการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำในจังหวัดยากจนของประเทศ หรือพื้นที่เป้าหมายนำร่อง ซึ่งองค์กรที่ได้รับคัดเลือกจะได้รับเงินสนับสนุนเพื่อนำไปดำเนินการจริงในพื้นที่ โดยมีโจทย์ที่สำคัญ ได้แก่
โครงการหมู่บ้านนวัตกรรมเพื่อสังคม หรือ Social InnovationVillage ที่มุ่งแก้ไขปัญหา 3 พื้นที่เป้าหมาย ได้แก่ ชุมชนเมืองจัง อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน ชุมชนอุ้มผาง อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก และชุมชนหนองมะโมง อำเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท นอกจากนี้ ยังมีการเปิดรับข้อเสนอโครงการนวัตกรรมสำหรับเมืองและชุมชนตั้งแต่วันนี้ถึง 30 เมษายน 2562 ในหัวข้อนวัตกรรมการจัดการความเสี่ยงภัยพิบัติ นวัตกรรมบริการสาธารณะ และการยกระดับคุณภาพชีวิตของกลุ่มเปราะบาง ซึ่งนับว่าเป็นการพัฒนาโครงการนวัตกรรมเพื่อสังคมแบบมุ่งเป้าอีกรูปแบบหนึ่งที่เน้นแก้ปัญหาสังคมเมืองและชุมชนในหัวข้อที่เป็นประเด็นสำคัญในแต่ละปี
2. ธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคมแบบเปิด ในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 1.5 ล้านบาท ผ่าน 9 ด้าน ได้แก่ ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ด้านความเชื่อมโยงระหว่าง อาหาร น้ำ และพลังงาน ด้านภาครัฐและการศึกษา ด้านการเงิน การจ้างงาน และสวัสดิการสังคม ด้านเกษตรกรรมยั่งยืน ด้านความเป็นเมือง ด้านสุขภาพ ด้านการท่องเที่ยวและวัฒนธรรม และ ด้านการจัดการภัยพิบัติ ส่วนธุรกิจ
NIA ปรับโฉม ส่งเสริม สตาร์ทอัพไทย ผ่านแพคเกจใหม่ “Groom Grant Growth” พร้อมสนับสนุนเงินทุน สร้างโอกาส ต่อยอดทางธุรกิจนวัตกรรม
นายพันธุ์อาจ ชัยรัตน์ ผู้อำนวยการสำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องค์การมหาชน) เปิดเผยว่า NIA ตระหนักดีว่าการกลุ่มผู้ประกอบการเอสเอ็มอีและสตาร์ทอัพเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญต่อการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งช่วยสร้างและพัฒนารูปแบบบริการและผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่ศักยภาพทางการแข่งขันที่ยั่งยืนในอนาคต ในปีนี้ NIA จึงได้เร่งปรับแผนงานและแนวทางสนับสนุนให้สอดคล้องกับความต้องการในปัจจุบัน และเป็นการเพิ่มโอกาสการเข้าถึงการสนับสนุนในกลุ่มผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพ โดยขณะนี้ถือว่ามีความพร้อมทั้งในด้านบุคลากร โครงการ และปัจจัยที่จำเป็นสำหรับการสนับสนุนครบทุกมิติ ถือเป็นอีกหนึ่งโอกาสสำคัญที่จะช่วยให้ความสามารถทางนวัตกรรมของผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพไปถึงเป้าหมายได้รวดเร็วขึ้น
ทั้งนี้การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมด้านเศรษฐกิจ ผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพที่จะเข้ามาขอรับการสนับสนุนจะต้องผ่านการอบรมบ่มเพาะ (Groom) ในโปรแกรมนวัตกรรมสำหรับผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพ เพื่อติวเข้มเรียนรู้และเข้าใจมุมมองด้านนวัตกรรมพร้อมเทคนิคแนวทางการเขียนข้อเสนอโครงการนวัตกรรมเพื่อขอรับการสนับสนุนด้านเงินทุน (Grant) ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่
1. ธุรกิจนวัตกรรมมุ่งเป้าในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 5 ล้านบาท ผ่าน 6 สาขา ได้แก่ ธุรกิจนวัตกรรมการดูแลสุขภาพ ธุรกิจนวัตกรรมอาหารออกแบบสำหรับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ธุรกิจนวัตกรรมสมุนไพรเพื่อกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ธุรกิจนวัตกรรมอุตสาหกรรมป้องกันประเทศเพื่อความมั่นคงและกิจการพลเรือน ธุรกิจนวัตกรรมท่องเที่ยว และธุรกิจนวัตกรรม Smart Logistic/อุตสาหกรรมการผลิตที่ใช้เทคโนโลยี IoT ซึ่งกำลังเปิดรับข้อเสนอโครงการตั้งแต่วันนี้จนถึง 31 มีนาคม 2562
2. ธุรกิจนวัตกรรมแบบเปิด ในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 1.5 ล้านบาท ผ่าน 3 สาขา ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจการผลิตและการหมุนเวียน และเศรษฐกิจบริการและแบ่งปัน โดยมุ่งพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมในพื้นที่ส่วนกลางและระดับภูมิภาค ตั้งแต่พื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และภาคใต้ชายแดน ทั้งผู้ประกอบการกลุ่มธุรกิจนวัตกรรม และสตาร์ทอัพ เน้นการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมที่สอดรับกับไลฟ์สไตล์ใหม่ๆ ผ่านการเชื่อมโยงเครือข่ายในด้านเทคโนโลยีและการเงิน
สำหรับผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพที่มีศักยภาพในการขยายผลจะส่งต่อผ่านการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมผ่านเครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ (Growth) เช่น โครงการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจเริ่มต้นสู่การลงทุน การพัฒนาความร่วมมือด้านนวัตกรรมกับหน่วยงานต่างประเทศ โครงการพัฒนาการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐสำหรับวิสาหกิจ (GPT) และกลไกการสนับสนุนด้านการเสริมสร้างศักยภาพด้านนวัตกรรม (Mind Credit)
สำหรับการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคม จะมีการดำเนินการสนับสนุนในลักษณะเดียวกับการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมด้านเศรษฐกิจ แต่จะมีการอบรมบ่มเพาะผู้ประกอบการผ่านเครือข่ายที่เรียกว่า “หน่วยขับเคลื่อนนวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation Driving Unit)” ที่กระจายอยู่ใน 5 ภูมิภาค ทั้งภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ กลาง ตะวันออก และใต้ เพื่อส่งต่อมายังส่วนการสนับสนุนด้านเงินทุน โดยแบ่งเป็น
1.ธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคมแบบมุ่งเป้าในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 1.5 ล้านบาท จะเน้นการแก้ปัญหาด้านสังคมปัญหาใดปัญหาหนึ่ง โดยนำนวัตกรรมรูปแบบต่างๆ ที่มีการพัฒนาต้นแบบหรือโมเดลที่สำเร็จแล้วให้สามารถกระจายสู่ชุมชน หรือองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น มุ่งเน้นให้เกิดการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำในจังหวัดยากจนของประเทศ หรือพื้นที่เป้าหมายนำร่อง ซึ่งองค์กรที่ได้รับคัดเลือกจะได้รับเงินสนับสนุนเพื่อนำไปดำเนินการจริงในพื้นที่ โดยมีโจทย์ที่สำคัญ ได้แก่
โครงการหมู่บ้านนวัตกรรมเพื่อสังคม หรือ Social InnovationVillage ที่มุ่งแก้ไขปัญหา 3 พื้นที่เป้าหมาย ได้แก่ ชุมชนเมืองจัง อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน ชุมชนอุ้มผาง อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก และชุมชนหนองมะโมง อำเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท นอกจากนี้ ยังมีการเปิดรับข้อเสนอโครงการนวัตกรรมสำหรับเมืองและชุมชนตั้งแต่วันนี้ถึง 30 เมษายน 2562 ในหัวข้อนวัตกรรมการจัดการความเสี่ยงภัยพิบัติ นวัตกรรมบริการสาธารณะ และการยกระดับคุณภาพชีวิตของกลุ่มเปราะบาง ซึ่งนับว่าเป็นการพัฒนาโครงการนวัตกรรมเพื่อสังคมแบบมุ่งเป้าอีกรูปแบบหนึ่งที่เน้นแก้ปัญหาสังคมเมืองและชุมชนในหัวข้อที่เป็นประเด็นสำคัญในแต่ละปี
2. ธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคมแบบเปิด ในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 1.5 ล้านบาท ผ่าน 9 ด้าน ได้แก่ ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ด้านความเชื่อมโยงระหว่าง อาหาร น้ำ และพลังงาน ด้านภาครัฐและการศึกษา ด้านการเงิน การจ้างงาน และสวัสดิการสังคม ด้านเกษตรกรรมยั่งยืน ด้านความเป็นเมือง ด้านสุขภาพ ด้านการท่องเที่ยวและวัฒนธรรม และ ด้านการจัดการภัยพิบัติ ส่วนธุรกิจ
NIA ปรับโฉม ส่งเสริม สตาร์ทอัพไทย ผ่านแพคเกจใหม่ “Groom Grant Growth” พร้อมสนับสนุนเงินทุน สร้างโอกาส ต่อยอดทางธุรกิจนวัตกรรม
นายพันธุ์อาจ ชัยรัตน์ ผู้อำนวยการสำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องค์การมหาชน) เปิดเผยว่า NIA ตระหนักดีว่าการกลุ่มผู้ประกอบการเอสเอ็มอีและสตาร์ทอัพเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญต่อการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งช่วยสร้างและพัฒนารูปแบบบริการและผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่ศักยภาพทางการแข่งขันที่ยั่งยืนในอนาคต ในปีนี้ NIA จึงได้เร่งปรับแผนงานและแนวทางสนับสนุนให้สอดคล้องกับความต้องการในปัจจุบัน และเป็นการเพิ่มโอกาสการเข้าถึงการสนับสนุนในกลุ่มผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพ โดยขณะนี้ถือว่ามีความพร้อมทั้งในด้านบุคลากร โครงการ และปัจจัยที่จำเป็นสำหรับการสนับสนุนครบทุกมิติ ถือเป็นอีกหนึ่งโอกาสสำคัญที่จะช่วยให้ความสามารถทางนวัตกรรมของผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพไปถึงเป้าหมายได้รวดเร็วขึ้น
ทั้งนี้การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมด้านเศรษฐกิจ ผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพที่จะเข้ามาขอรับการสนับสนุนจะต้องผ่านการอบรมบ่มเพาะ (Groom) ในโปรแกรมนวัตกรรมสำหรับผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพ เพื่อติวเข้มเรียนรู้และเข้าใจมุมมองด้านนวัตกรรมพร้อมเทคนิคแนวทางการเขียนข้อเสนอโครงการนวัตกรรมเพื่อขอรับการสนับสนุนด้านเงินทุน (Grant) ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่
1. ธุรกิจนวัตกรรมมุ่งเป้าในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 5 ล้านบาท ผ่าน 6 สาขา ได้แก่ ธุรกิจนวัตกรรมการดูแลสุขภาพ ธุรกิจนวัตกรรมอาหารออกแบบสำหรับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ธุรกิจนวัตกรรมสมุนไพรเพื่อกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ธุรกิจนวัตกรรมอุตสาหกรรมป้องกันประเทศเพื่อความมั่นคงและกิจการพลเรือน ธุรกิจนวัตกรรมท่องเที่ยว และธุรกิจนวัตกรรม Smart Logistic/อุตสาหกรรมการผลิตที่ใช้เทคโนโลยี IoT ซึ่งกำลังเปิดรับข้อเสนอโครงการตั้งแต่วันนี้จนถึง 31 มีนาคม 2562
2. ธุรกิจนวัตกรรมแบบเปิด ในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 1.5 ล้านบาท ผ่าน 3 สาขา ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจการผลิตและการหมุนเวียน และเศรษฐกิจบริการและแบ่งปัน โดยมุ่งพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมในพื้นที่ส่วนกลางและระดับภูมิภาค ตั้งแต่พื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และภาคใต้ชายแดน ทั้งผู้ประกอบการกลุ่มธุรกิจนวัตกรรม และสตาร์ทอัพ เน้นการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมที่สอดรับกับไลฟ์สไตล์ใหม่ๆ ผ่านการเชื่อมโยงเครือข่ายในด้านเทคโนโลยีและการเงิน
สำหรับผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพที่มีศักยภาพในการขยายผลจะส่งต่อผ่านการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมผ่านเครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ (Growth) เช่น โครงการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจเริ่มต้นสู่การลงทุน การพัฒนาความร่วมมือด้านนวัตกรรมกับหน่วยงานต่างประเทศ โครงการพัฒนาการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐสำหรับวิสาหกิจ (GPT) และกลไกการสนับสนุนด้านการเสริมสร้างศักยภาพด้านนวัตกรรม (Mind Credit)
สำหรับการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคม จะมีการดำเนินการสนับสนุนในลักษณะเดียวกับการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมด้านเศรษฐกิจ แต่จะมีการอบรมบ่มเพาะผู้ประกอบการผ่านเครือข่ายที่เรียกว่า “หน่วยขับเคลื่อนนวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation Driving Unit)” ที่กระจายอยู่ใน 5 ภูมิภาค ทั้งภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ กลาง ตะวันออก และใต้ เพื่อส่งต่อมายังส่วนการสนับสนุนด้านเงินทุน โดยแบ่งเป็น
1.ธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคมแบบมุ่งเป้าในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 1.5 ล้านบาท จะเน้นการแก้ปัญหาด้านสังคมปัญหาใดปัญหาหนึ่ง โดยนำนวัตกรรมรูปแบบต่างๆ ที่มีการพัฒนาต้นแบบหรือโมเดลที่สำเร็จแล้วให้สามารถกระจายสู่ชุมชน หรือองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น มุ่งเน้นให้เกิดการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำในจังหวัดยากจนของประเทศ หรือพื้นที่เป้าหมายนำร่อง ซึ่งองค์กรที่ได้รับคัดเลือกจะได้รับเงินสนับสนุนเพื่อนำไปดำเนินการจริงในพื้นที่ โดยมีโจทย์ที่สำคัญ ได้แก่
โครงการหมู่บ้านนวัตกรรมเพื่อสังคม หรือ Social InnovationVillage ที่มุ่งแก้ไขปัญหา 3 พื้นที่เป้าหมาย ได้แก่ ชุมชนเมืองจัง อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน ชุมชนอุ้มผาง อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก และชุมชนหนองมะโมง อำเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท นอกจากนี้ ยังมีการเปิดรับข้อเสนอโครงการนวัตกรรมสำหรับเมืองและชุมชนตั้งแต่วันนี้ถึง 30 เมษายน 2562 ในหัวข้อนวัตกรรมการจัดการความเสี่ยงภัยพิบัติ นวัตกรรมบริการสาธารณะ และการยกระดับคุณภาพชีวิตของกลุ่มเปราะบาง ซึ่งนับว่าเป็นการพัฒนาโครงการนวัตกรรมเพื่อสังคมแบบมุ่งเป้าอีกรูปแบบหนึ่งที่เน้นแก้ปัญหาสังคมเมืองและชุมชนในหัวข้อที่เป็นประเด็นสำคัญในแต่ละปี
2. ธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคมแบบเปิด ในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 1.5 ล้านบาท ผ่าน 9 ด้าน ได้แก่ ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ด้านความเชื่อมโยงระหว่าง อาหาร น้ำ และพลังงาน ด้านภาครัฐและการศึกษา ด้านการเงิน การจ้างงาน และสวัสดิการสังคม ด้านเกษตรกรรมยั่งยืน ด้านความเป็นเมือง ด้านสุขภาพ ด้านการท่องเที่ยวและวัฒนธรรม และ ด้านการจัดการภัยพิบัติ ส่วนธุรกิจ
NIA ปรับโฉม ส่งเสริม สตาร์ทอัพไทย ผ่านแพคเกจใหม่ “Groom Grant Growth” พร้อมสนับสนุนเงินทุน สร้างโอกาส ต่อยอดทางธุรกิจนวัตกรรม
นายพันธุ์อาจ ชัยรัตน์ ผู้อำนวยการสำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องค์การมหาชน) เปิดเผยว่า NIA ตระหนักดีว่าการกลุ่มผู้ประกอบการเอสเอ็มอีและสตาร์ทอัพเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญต่อการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งช่วยสร้างและพัฒนารูปแบบบริการและผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่ศักยภาพทางการแข่งขันที่ยั่งยืนในอนาคต ในปีนี้ NIA จึงได้เร่งปรับแผนงานและแนวทางสนับสนุนให้สอดคล้องกับความต้องการในปัจจุบัน และเป็นการเพิ่มโอกาสการเข้าถึงการสนับสนุนในกลุ่มผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพ โดยขณะนี้ถือว่ามีความพร้อมทั้งในด้านบุคลากร โครงการ และปัจจัยที่จำเป็นสำหรับการสนับสนุนครบทุกมิติ ถือเป็นอีกหนึ่งโอกาสสำคัญที่จะช่วยให้ความสามารถทางนวัตกรรมของผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพไปถึงเป้าหมายได้รวดเร็วขึ้น
ทั้งนี้การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมด้านเศรษฐกิจ ผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพที่จะเข้ามาขอรับการสนับสนุนจะต้องผ่านการอบรมบ่มเพาะ (Groom) ในโปรแกรมนวัตกรรมสำหรับผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพ เพื่อติวเข้มเรียนรู้และเข้าใจมุมมองด้านนวัตกรรมพร้อมเทคนิคแนวทางการเขียนข้อเสนอโครงการนวัตกรรมเพื่อขอรับการสนับสนุนด้านเงินทุน (Grant) ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่
1. ธุรกิจนวัตกรรมมุ่งเป้าในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 5 ล้านบาท ผ่าน 6 สาขา ได้แก่ ธุรกิจนวัตกรรมการดูแลสุขภาพ ธุรกิจนวัตกรรมอาหารออกแบบสำหรับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ธุรกิจนวัตกรรมสมุนไพรเพื่อกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ธุรกิจนวัตกรรมอุตสาหกรรมป้องกันประเทศเพื่อความมั่นคงและกิจการพลเรือน ธุรกิจนวัตกรรมท่องเที่ยว และธุรกิจนวัตกรรม Smart Logistic/อุตสาหกรรมการผลิตที่ใช้เทคโนโลยี IoT ซึ่งกำลังเปิดรับข้อเสนอโครงการตั้งแต่วันนี้จนถึง 31 มีนาคม 2562
2. ธุรกิจนวัตกรรมแบบเปิด ในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 1.5 ล้านบาท ผ่าน 3 สาขา ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจการผลิตและการหมุนเวียน และเศรษฐกิจบริการและแบ่งปัน โดยมุ่งพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมในพื้นที่ส่วนกลางและระดับภูมิภาค ตั้งแต่พื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และภาคใต้ชายแดน ทั้งผู้ประกอบการกลุ่มธุรกิจนวัตกรรม และสตาร์ทอัพ เน้นการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมที่สอดรับกับไลฟ์สไตล์ใหม่ๆ ผ่านการเชื่อมโยงเครือข่ายในด้านเทคโนโลยีและการเงิน
สำหรับผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพที่มีศักยภาพในการขยายผลจะส่งต่อผ่านการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมผ่านเครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ (Growth) เช่น โครงการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจเริ่มต้นสู่การลงทุน การพัฒนาความร่วมมือด้านนวัตกรรมกับหน่วยงานต่างประเทศ โครงการพัฒนาการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐสำหรับวิสาหกิจ (GPT) และกลไกการสนับสนุนด้านการเสริมสร้างศักยภาพด้านนวัตกรรม (Mind Credit)
สำหรับการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคม จะมีการดำเนินการสนับสนุนในลักษณะเดียวกับการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมด้านเศรษฐกิจ แต่จะมีการอบรมบ่มเพาะผู้ประกอบการผ่านเครือข่ายที่เรียกว่า “หน่วยขับเคลื่อนนวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation Driving Unit)” ที่กระจายอยู่ใน 5 ภูมิภาค ทั้งภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ กลาง ตะวันออก และใต้ เพื่อส่งต่อมายังส่วนการสนับสนุนด้านเงินทุน โดยแบ่งเป็น
1.ธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคมแบบมุ่งเป้าในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 1.5 ล้านบาท จะเน้นการแก้ปัญหาด้านสังคมปัญหาใดปัญหาหนึ่ง โดยนำนวัตกรรมรูปแบบต่างๆ ที่มีการพัฒนาต้นแบบหรือโมเดลที่สำเร็จแล้วให้สามารถกระจายสู่ชุมชน หรือองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น มุ่งเน้นให้เกิดการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำในจังหวัดยากจนของประเทศ หรือพื้นที่เป้าหมายนำร่อง ซึ่งองค์กรที่ได้รับคัดเลือกจะได้รับเงินสนับสนุนเพื่อนำไปดำเนินการจริงในพื้นที่ โดยมีโจทย์ที่สำคัญ ได้แก่
โครงการหมู่บ้านนวัตกรรมเพื่อสังคม หรือ Social InnovationVillage ที่มุ่งแก้ไขปัญหา 3 พื้นที่เป้าหมาย ได้แก่ ชุมชนเมืองจัง อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน ชุมชนอุ้มผาง อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก และชุมชนหนองมะโมง อำเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท นอกจากนี้ ยังมีการเปิดรับข้อเสนอโครงการนวัตกรรมสำหรับเมืองและชุมชนตั้งแต่วันนี้ถึง 30 เมษายน 2562 ในหัวข้อนวัตกรรมการจัดการความเสี่ยงภัยพิบัติ นวัตกรรมบริการสาธารณะ และการยกระดับคุณภาพชีวิตของกลุ่มเปราะบาง ซึ่งนับว่าเป็นการพัฒนาโครงการนวัตกรรมเพื่อสังคมแบบมุ่งเป้าอีกรูปแบบหนึ่งที่เน้นแก้ปัญหาสังคมเมืองและชุมชนในหัวข้อที่เป็นประเด็นสำคัญในแต่ละปี
2. ธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคมแบบเปิด ในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 1.5 ล้านบาท ผ่าน 9 ด้าน ได้แก่ ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ด้านความเชื่อมโยงระหว่าง อาหาร น้ำ และพลังงาน ด้านภาครัฐและการศึกษา ด้านการเงิน การจ้างงาน และสวัสดิการสังคม ด้านเกษตรกรรมยั่งยืน ด้านความเป็นเมือง ด้านสุขภาพ ด้านการท่องเที่ยวและวัฒนธรรม และ ด้านการจัดการภัยพิบัติ ส่วนธุรกิจ