SPECIAL REPORT

ดูแล้ว: 47 ศูนย์วิจัยฯไทยพาณิชย์ ชี้วิกฤติการเงินตุรกี เกิดจากปมการเมืองระหว่างประเทศ เชื่อไม่จบง่ายๆ พร้อมแนะ 3 ทางเลือกเชิงนโยบาย “ขึ้นดอกเบี้ย-คุมเงินทุนไหลออก-ซบไอเอ็มเอฟ” ยืนยันกระทบไทยแค่ระยะสั้น และจำกัดวง เหตุส่งออกไทยไปตุรกีมีน้อยมากแค่ 0.5% ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB EIC) ออกบทวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาวิกฤติการเงินตุรกีที่กำลังกลายเป็นประเด็นความวิตกกังวลให้กับสังคมโลก ต่อเนื่องจากปมสงครามการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีน โดยชี้ว่า รัฐบาลตุรกีกำลังเผชิญกับปัญหาความเปราะบางทางเศรษฐกิจเป็นเวลานาน สะท้อนจากดุลบัญชีเดินสะพัดที่ขาดดุลในระดับสูงต่อเนื่อง สัดส่วนหนี้ต่างประเทศต่อ GDP ที่สูงและสัดส่วนเงินทุนสำรองระหว่างประเทศต่อหนี้สินต่างประเทศระยะสั้นที่ต่ำเมื่อเทียบกับประเทศตลาดเกิดใหม่อื่นๆ ทำให้นักลงทุนทั่วโลกต่างกังวลต่อประเด็นความเปราะบางทางเศรษฐกิจของตุรกีมากยิ่งขึ้น ภายหลังเกิดความขัดแย้งทางการเมืองที่ทวีความรุนแรงตามลำดับ เริ่มจากเมื่อวันที่ 10 สิงหาคมที่ผ่านมา ที่รัฐบาลสหรัฐฯ ได้ประกาศคว่ำบาตรรัฐบาลตุรกี ด้วยการเพิ่มอัตราภาษีนำเข้าเหล็กและอลูมิเนียมจากตุรกีเป็น 50% และ 20% ตามลำดับ เพื่อกดดันรัฐบาลตุรกีในประเด็นความขัดแย้งทางการเมือง ขณะเดียวกัน รัฐบาลตุรกีได้ประกาศจะตอบโต้กลับด้วยการเก็บภาษีนำเข้าจากสหรัฐฯ ประกอบด้วย ภาษีรถยนต์ 120% ภาษีเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 140% และภาษีบุหรี่ 60% เช่นกัน ผลจากสถานการณ์ดังกล่าว ส่งผลทำให้ค่าเงินลีราตุรกีเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯ อ่อนค่าอย่างรุนแรงถึง63% นับตั้งแต่ต้นปีนี้  โดยเป็นการอ่อนค่า 24% นับตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคมที่ผ่านมา ขณะเดียวกันอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 10 ปีปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 2% มาอยู่ที่ 20.12% นับจากต้นเดือนสิงหาคมและตลาดหุ้นปรับตัวลดลง 6.34% นับจากต้นเดือนเช่นกัน ทั้งนี้ ปัญหาวิกฤติการเงินตุรกีมีต้นตอมาจากความเปราะบางทางเศรษฐกิจของประเทศตุรกีเป็นหลักเนื่องจากโครงสร้างทางเศรษฐกิจตุรกีมีความเปราะบาง ทั้งจากเสถียรภาพภายในประเทศ และต่างประเทศ โดยเสถียรภาพภายในประเทศมีความเปราะบางจากอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานที่เพิ่มสูงขึ้นถึง 15.1% YOY ในเดือนกรกฎาคม ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยอัตราเงินเฟ้อของประเทศเกิดใหม่ค่อนข้างมาก นอกจากนี้เสถียรภาพต่างประเทศของตุรกีก็เปราะบางด้วยเช่นกัน กล่าวคือ ดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลเป็นเวลานานนับตั้งแต่ปี 2009 และขาดดุลเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็น 7% ต่อ GDP ในไตรมาส 1 ปี 2018... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 30 ความเคลื่อนในแวดวงอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในประเทศไทย โดยเฉพาะช่วงไฮซีซั่น “ปลายฝนต้นหนาว” นับแต่เดือนตุลาคมของทุกปีเป็นต้นไป ทำท่าว่าจะกลับคึกคักอีกครั้งและรอบนี้ดูจะมากยิ่งขึ้น หลังจากที่ก่อนหน้านี้…เกิดกระแสข่าวร้อนๆ กรณีนักท่องเที่ยวชาวจีนบางกลุ่ม... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 50 รอยต่อในช่วงท้ายๆ ของคนยุคเจนเนอเรชั่นวาย (GEN Y) เฉพาะช่วงปี 2538-43 หรือคนอายุ 18-23 ปี จนก้าวเข้าสู่คนยุคต้นๆ ของเจนเนอเรชั่นแซด (GEN Z) เฉพาะช่วงปี 2543-2445 หรือคนอายุ 16-18 ปี กลายเป็นกลุ่มคน “เนื้อหอม” ที่บรรดาสถาบันการเงินชั้นนำขนาดใหญ่ของไทย ต่างจับจ้องตาเป็นมัน ด้วยหวังจะครอบครองใจกลุ่มคนที่กำลังศึกษาในระดับมัธยมปลายจนถึงระดับอุดมศึกษา การเปิดเกมรุกนำร่องกับโรงเรียนเตรียมทหารของธนาคารกรุงไทย เมื่อปลายสัปดาห์ก่อน ช่วยตอกย้ำแนวคิดข้างต้นได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น เนื่องจากคนกลุ่มนี้ ส่วนใหญ่จะมีอายุในระดับชั้นเรียน เทียบได้กับนักเรียนมัธยมปลายชั้นปีที่ 5 (ม.5) และปีที่ 6 (ม.6) เท่านั้น กระนั้น แนวทางต่อไปของแบงก์กรุงไทยที่รับพันธะสัญญามาจากรัฐบาลและกองทัพไทย ก็คือ การรุกคืบต่อไปยังโรงเรียนนายสิบ โรงเรียนช่างฝีมือทหาร โรงเรียนแผนที่ทหาร ฯลฯ รวมถึงโรงเรียนนายร้อยทั้ง 4 เหล่าทัพ คือโรงเรียนนายร้อยทหารบก โรงเรียนนายร้อยทหารเรือ โรงเรียนนายร้อยทหารอากาศ และโรงเรียนนายร้อยตำรวจ... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 93 ผลพวงจาก Digital Technology ที่รุกคืบในเชิง Disruptive Technology ส่งผลให้หลายธุรกิจที่ไม่ปรับตัว หรือปรับตัวไม่ทัน พลอยได้รับผลกระทบตามมา ทว่าจะรุนแรงมากน้อยแค่ไหน ขึ้นกับโชคชะตาด้วยว่า…ธุรกิจและอุตสาหกรรมที่ผู้ประกอบการเหล่านั้น โดน Disruptive Technology จัดอยู่ในกลุ่มใด? สำหรับกลุ่มธนาคารพาณิชย์ และกลุ่มประกันภัย ที่ทั้งคู่ต่างได้ชื่อว่าเป็นสายงานแขนงหนึ่งในกลุ่มธุรกิจการเงิน และบางคู่ถือหุ้นไขว้กันในลักษณะ เจ้าของ/ผู้ก่อตั้งแบงก์ หรือผู้ถือหุ้นใหญ่ของธนาคารพาณิชย์แห่งนั้น เป็นเจ้าของหรือถือหุ้นในบริษัทประกันกันภัย แน่นอนว่า…ทั้งธุรกิจธนาคารพาณิชย์ และกลุ่มประกันภัย ต่างก็ต้องผจญกับสภาวะ ถูก Disruptive Technology และทั้ง 2 ธุรกิจ จำเป็นต้องปรับตัวอย่างเร่งด่วน และนำสิ่งที่เรียกว่า Financial... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 38 มิติที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกการเงินยุคใหม่ ยากจะหาจุดสิ้นสุดและเส่นแบ่งความลงตัวที่แน่นอนได้ ธนาคารพาณิชย์ทุกแห่งต่างเร่งปรับตัวให้เข้ากับสภาวะ “ดิจิทัลเทคโนโลยี” และนำตัวเองไปสู่ความเป็น “ดิจิทัลแบงกิ้ง” เพื่อจะไม่ต้องตกอยู่ในฐานะ Disruptive... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 90 อารมณ์ของคนเป็นพ่อเป็นแม่ คือ อยากเห็นรอยยิ้ม ความสุข และความสนุกของลูกๆ มาพร้อมกับการเปิดประสบการณ์ใหม่ๆ ที่ครอบครัวมีส่วนร่วมกับทุกๆ... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 205 ภายหลังจากที่พระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษานับแต่วันที่ 13 พฤษภาคมที่ผ่านมา และมีผลบังคับใช้ในวันรุ่งขึ้น... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 46 เมื่อถนนทุกสายจากทั่วทุกมุมโลก ต่างมุ่งหน้าสู่เส้นทางสายดิจิทัล ท่ามกลางภาวะการตลาดยุคดิจิทัล (Digital Marketing) ที่เบ่งบานไปพร้อมๆ กับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของมนุษย์จากเดิมที่คุ้นชินอยู่กับการเดินทางไปดูและซื้อสินค้า... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 47 ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB EIC) ออกบทวิเคราะห์ กรณี ธนาคารกลางยุโรป (European Central... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 27 ผ่านพ้นไปแล้วสำหรับวาระแรกของการพิจารณา ร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปี 2562 เมื่อช่วงสายวันที่ 7... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 58 ทุกครั้งที่โลกมีมหกรรมด้านการกีฬา ไม่ว่าจะเป็นรายการโอลิมปิคฤดูร้อน ฟุตบอลโลก หรือแม้แต่ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป ที่เมืองไทย…กิจกรรมต่อเนื่องจากมหกรรมกีฬาดังกล่าว จะพรั่งพรูและถูกนำมาต่อยอดธุรกิจการค้าในหลากหลายภาคส่วน ด้วยหวังจะใช้กลยุทธ์... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 47 ดัชนีชี้วัดระดับความเชื่อมั่นของนักลงทุนต่างประเทศที่พึ่งมีต่อประเทศไทย กลายเป็นต้องอิงแอบต่อภาพความชัดเจนของระบบการเมืองและการปกครอง แทนที่จะเป็นภาพสะท้อนความเข้มแข็งเชิงโครงสร้างของระบบเศรษฐกิจไทย นับเป็นอีกหนึ่ง “ไทยแลนด์ โอลลี่” ที่คนทั่วโลกต่างเข้าใจตรงกัน... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 16 ดูเหมือนจำเลยในประเด็นข่าว “ไทย : ปลายทางนำเข้าขยะพิษ” ที่มีการนำเสนอผ่านสื่อกระแสหลักและสื่อโซเชียลมีเดีย ก่อนหน้านี้ จะถูกโยงให้เป็นปัญหาเฉพาะของกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง ในฐานะ “ประตูบานแรก”... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 53 ศูนย์วิจัยกสิกรไทย สรุปข้อมูลสินเชื่อ เงินฝาก และสภาพคล่อง ของธนาคารพาณิชย์ไทย 14 แห่ง ณ สิ้นเดือนมี.ค.61 จากเอกสารรายการย่อแสดงสินทรัพย์และหนี้สิน... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 47 แม้ผู้ผลิตรถยนต์ค่ายญี่ปุ่นในไทย พยายามจะยื้อนโยบายส่งเสริมสนับสนุนยานยนต์ไฟฟ้าของรัฐบาลไทย ด้วยสารพัดเหตุผลเพื่อสร้างแรงกดดัน ทั้งข้ออ้างกรณีที่พวกเขาลงทุนสร้างโรงงานผลิตรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์มูลค่ารวมกันนับแสนล้านบาท, การเลิกจ้างแรงงาน เนื่องเพราะเนื้องานและอุปกรณ์ของยานยนต์ไฟฟ้ามีน้อยกว่ามาก, การนำหุ่นยนต์ในใช้ทดแทนแรงงานคน... อ่านต่อ