NATIONAL

ดูแล้ว: 26 คปภ. ผนึกภาคอุตสาหกรรมประกันภัย ร่วมใจช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม จัดคาราวานฟื้นฟูหลังน้ำลด มอบหม้อหุงข้าว – ถุงยังชีพ... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 19 ผช.รมต.คลังแนะผู้ลงทะเบียนใช้เงินกระเป๋า 2 ร่วมกันฟื้นเศรษฐกิจไทย ได้เงินคืน 15% พร้อมดึงร้านค้าชุมชนร่วมโครงการ “ชิมช้อปใช้... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 39 บริษัทอสังหาฯ รายกลาง “มานะพัฒนาการ” ทุ่ม 1,005 ล้านบาท พัฒนาโครงการบ้านเดี่ยว... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 42 คปภ.จี้บริษัทประกันเร่งรัดการจ่ายสินไหมเพื่อเยียวยาความสูญเสียโดยเร็ว “คนตาย-บาดเจ็บ” กรณีอุบัติ รถตู้ “เจ้าคุณอลงกรณ์” เจ้าอาวาสวัดพระบาทน้ำพุชนรถกระบะดับ 2... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 35 สคร.ขานรับใบสั่ง “อุตตม” จี้ติดการเบิกจ่ายงบลงทุนของ 45 รัฐวิสาหกิจ โฟกัสกลุ่มวงเงินลงทุนสูงอย่างใกล้ชิด พร้อมเร่งแก้ไขอุปสรรคการเบิกจ่ายงบลงทุน... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 1,358 ธนารักษ์ยุค “บิ๊กหยิม” เดินหน้าต่อยอดใช้ที่ราชพัสดุร่วมพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทย ตั้งเป้ารายได้ปี 63 โตถึง 50% ที่... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 18 “รองฯสมคิด” จ่อเปิดเฟส 2 “ชิมช้อปใช้” ดึงร้านค้าชุมชนในเครือข่าย “ออมสิน-ธ.ก.ส.” กว่าแสนราย... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 26 คปภ. นำภาคอุตสาหกรรมประกันภัย ล่องใต้ลงพื้นที่นครศรีธรรมราช เปิดงานเพื่อส่งท้ายโครงการ Training for the... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 22 กยศ.เผยสร้างประวัติการณ์ใหม่ หลังยอดคืนหนี้ปี 62 พุ่งเกิน 3 หมื่นล้านบาท ลั่นขอบคุณ... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 37 “อุตตม” นัดลงพื้นที่ตรวจ “ชิมช้อปใช้” ที่ระยอง พรุ่งนี้ (4) เผยยอดใช้จ่าย... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 20 กระทรวงอุตสาหกรรม เตรียมลงพื้นที่ 4 จังหวัช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยหลังน้ำลด พร้อมเปิดคลินิกอุตสาหกรรมเคลื่อนที่ “ทำทันที” ซ่อม... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 33 คปภ.พร้อมดันประกันอุบัติเหตุ (PA) นำร่องกลุ่มบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 14.6 ล้านคน หาก “คลัง-รัฐบาล” ไฟเขียวงบหลวงล็อตแรก 4,000 ล้านบาท ส่วนประกันสุขภาพ-ประกันชีวิต งบสูงอาจล่าช้า เหตุต้องให้ภาคเอกชนอยู่ได้ด้วย ดร.สุทธิพล ทวีชัยการ เลขาธิการคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) กล่าวถึงนโยบายเพิ่มสิทธิประโยชน์ให้ผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 14.6 ล้านคน เข้าถึงระบบประกันภัย ตั้งแต่ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล (PA) การประกันชีวิต และประกันสุขภาพ ครอบคุมโรคร้ายแรงบางชนิด ว่า เป็นเรื่องดีและทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็น คปภ.หรือธุรกิจประกันภัย ต่างเห็นด้วยในหลักการจากนโยบายของรัฐบาล เพียงแต่บางเรื่องต้องหารือในรายละเอียด ขณะที่บางเรื่อง โดยเฉพาะในส่วนของ PA หากนำมาใช้ร่วมกับบัตรสวัสดิการแห่งรัฐที่รัฐบาลมีฐานข้อมูลอยู่แล้ว สามารถดำเนินการได้ทันทีที่รัฐบาลอนุมัติงบประมาณตามที่ได้เสนอไป “ผมได้เสนอโครงการประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล หรือ PA ไปให้ทางสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ได้พิจารณาแล้ว ซึ่ง PA ถือเป็นการประกันภัยที่ไม่สลับซับซ้อนอะไรมากนัก หาก สศค.เห็นด้วยกับข้อเสนอของ คปภ. โดยเฉพาะงบประมาณที่เสนอไป ก็สามารถดำเนินการได้ทันที” สำหรับเบี้ยประกันฯที่ คปภ.ได้เสนอไปมีหลายแนวทาง แต่แนวทางที่มีความเป็นไปได้ คือ การกำหนดเบี้ยประกันฯขั้นต่ำที่ 60 บาท/ปี หรือ 5 บาท/เดือน เพียงแต่จะไม่ครอบคลุมการจ่ายเงินชดเชย กรณีเกิดอุบัติเหตุและต้องเข้ารับการรักษาตัว ซึ่งหากให้ครอบคลุมในส่วนนี้ ค่าเบี้ยประกันฯอาจขยับขึ้นเป็น 99 บาท/ปี หรือ 8 บาทเศษ/เดือน โดยครอบคลุมเงินชดเชยได้ 200-300 บาท/วัน เลขาธิการ คปภ.ย้ำว่า รูปแบบการทำ “พูลลิ่ง” หรือการประจายความเสี่ยงที่ใช้กับการทำประกันภัยข้าวนาปี จนประสบผลสำเร็จตลอดหลายปีที่ผ่านมา จะถูกนำไปเป็นต้นแบบให้กับการทำประกันภัยอื่นๆ โดยเฉพาะ PA รวมถึงการประกันสุขภาพ การประกันชีวิต และประกันภัยใหม่ๆ ที่จะมีตามมาในอนาคต “ฝ่ายนโยบายที่เคยกังวลใจว่าการเพิ่มสิทธิประโยชน์ด้านการทำประกันภัยให้กับผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ อาจทำให้ผลประโยชน์ไปตกอยู่กับบางบริษัทประกันภัยได้ แต่พอ คปภ.อธิบายถึงรูปแบบ “พูลลิ่ง ซิสเต็ม” ที่ประสบผลสำเร็จกับการประกันภัยข้าวนาปีมาแล้ว ทำให้ฝ่ายนโยบายรู้สึกเบาใจ และมีแนวโน้มจะสั่งการให้ดำดนินการขับเคลื่อนโครงการที่จะนำระบบประกันภัยไปสู่ประชาชนผู้มีรายได้น้อยและคนฐานรากของประเทศได้เข้าถึงสวัสดิการดีๆ เช่นนี้” ในส่วนของการประกันสุขภาพและประกันชีวิตนั้น จากการศึกษาพบว่าผลิตภัณฑ์ของทั้ง 2 ตัวมีราคาค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกัยรายได้ของประชาชนและไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงมากนัก จำเป็นจะต้องสร้างระบบประกันสุขภาพและประกันชีวิตให้กับคนฐานรากผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐฯ เพียงแต่ค่าเบี้ยประกันฯคงต้องเป็นราคาที่เหมาะสมและทุกฝ่ายยอมรับได้ ขณะที่กลุ่มคนที่มีความพร้อมทางการเงินก็ยังคงซื้อระบบประกันสุขภาพและประกันชีวิตระดับพรีเมี่ยมต่อไป... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 33 พีดีเฮ้าส์ หวั่นสถานการณ์น้ำท่วมในหลายพื้นที่โดยเฉพาะภาคอีสาน กระทบลูกค้ารับสร้างบ้านชะลอการตัดสินใจ พร้อมเดินหน้าปลุกกำลังซื้อหลังน้ำลด ชูแบบบ้านคอนเซปต์ “บ้านปกป้องน้ำท่วม”ตอบโจทย์ลูกค้า เผยยอดขายสิ้นปีตามเป้า1,200... อ่านต่อ
ดูแล้ว: 33 ธ.ก.ส. พร้อมจ่ายเงินตามโครงการประกันรายได้เกษตรกรชาวสวนปาล์มน้ำมัน ปี 62/63  ราคาประกันผลปาล์มทะลาย (คุณภาพน้ำมัน 18%) กิโลกรัมละ 4 บาท ไม่เกินครัวเรือนละ 25 ไร่ เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนจากปัญหาผลผลิตปาล์มล้นตลาดและราคาตกต่ำ เริ่มโอนงวดแรก 1 ต.ค. นี้ กว่า 2.5 แสนราย เป็นเงิน 1,351 ล้านบาท นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.พาณิชย์ เป็นประธานในงานแถลงข่าวเปิดตัวการจ่ายเงินประกันรายได้งวดแรกให้แก่เกษตรกรตาม “โครงการประกันรายได้เกษตรกรชาวสวนปาล์มน้ำมัน ปี 62/63” โดยมีนายศรายุทธ ยิ้มยวน รอง ผจก.ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) เข้าร่วมงาน ณ บริเวณวงเวียนริมน้ำ ชั้น 3 กระทรวงพาณิชย์ ถ.นนทบุรี ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี เมื่อวันที่ 1 ต.ค.62 ทั้งนี้ รอง ผจก. ธ.ก.ส. กล่าวว่า ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 27 ส.ค.62 เห็นชอบให้ ธ.ก.ส. ดำเนินการจ่ายเงินช่วยเหลือตามโครงการประกันรายได้เกษตรกรชาวสวนปาล์มน้ำมัน ปี 62/63 เพื่อช่วยบรรเทาความเดือดร้อนของเกษตรกรอันเนื่องมาจากปัญหาผลผลิตปาล์มล้นตลาดและราคาผลผลิตตกต่ำ โดยกำหนดรายได้ที่เหมาะสมที่เกษตรกรควรได้รับจากการขายผลปาล์มทะลาย (คุณภาพน้ำมัน 18%) ที่กิโลกรัมละ 4 บาท ซึ่งเกษตรกรที่มีสิทธิเข้าร่วมโครงการ ต้องเป็นเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันที่ขึ้นทะเบียนไว้กับ  กรมส่งเสริมการเกษตร มีสิทธิ์ได้รับเงินชดเชยตามพื้นที่ที่ปลูกจริง แต่ไม่เกินครัวเรือนละ 25 ไร่ และเป็นพื้นที่ปลูกปาล์มที่ให้ผลผลิตแล้วมีอายุไม่น้อยกว่า 3 ปี ระยะเวลาดำเนินโครงการตั้งแต่เดือน ก.ย.62 – ก.ย.63 โดยคณะอนุกรรมการบริหารโครงการประกันรายได้เกษตรกรชาวสวนปาล์มน้ำมัน ปี 62/63 จะทำหน้าที่กำหนดราคาตลาดอ้างอิง เพื่อใช้ในการคำนวณเงินชดเชยส่วนต่างระหว่างอัตราประกันรายได้ กับราคาตลาดอ้างอิง เพื่อแจ้ง ธ.ก.ส. ใช้เป็นข้อมูลในการคำนวณเงินชดเชยส่วนต่างและโอนเงินให้แก่เกษตรกรต่อไป สำหรับในวันนี้ราคาตลาดอ้างอิงผลปาล์มทะลาย (คุณภาพน้ำมัน 18%) กิโลกรัมละ 2.68 บาท เกษตรกรจะได้รับชดเชยส่วนต่างกิโลกรัมละ 1.32 บาท ในครั้งนี้จะมีเกษตรกรที่มีคุณสมบัติถูกต้องได้รับเงินทั้งสิ้น 254,730 ราย เป็นเงิน 1,351 ล้านบาท สำหรับขั้นตอนในการจ่ายเงินประกันรายได้ เมื่อ ธ.ก.ส. ได้รับข้อมูลจากกรมส่งเสริมการเกษตร   จะทำการประมวลข้อมูลพื้นที่การผลิต คำนวณปริมาณผลผลิต และเลขที่บัญชีเงินฝากของเกษตรกร เมื่อได้รับแจ้งราคาตลาดอ้างอิง  ธ.ก.ส.จะทำคำนวณเงินชดเชยตามสิทธิ์  และจะทำการโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากของเกษตรกรโดยตรง โดยกำหนดเป็นงวด ๆ ละไม่น้อยกว่า 45 วัน เริ่มจ่ายเงินงวดแรกในวันที่ 1 ต.ค. 62 งวดต่อไปจ่ายในวันที่ 1 หรือ 16 หากตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดนักขัตฤกษ์ จะเลื่อนกำหนดจ่ายเร็วขึ้น (วันทำการก่อนวันหยุด) ซึ่งเกษตรกรสามารถตรวจสอบผลการโอนเงินได้ที่ Link: http://chongkho.inbaac.com.... อ่านต่อ

ประเด็นข่าว